Monday, March 3, 2008

คำสั่งเบื้องต้นเกี่ยวกับ Linux

คำสั่งเบื้องต้นเกี่ยวกับ Linux

1. คำสั่งสำหรับผู้ใช้พื้นฐาน (Basic user command)

ls : : :แสดงรายชื่อแฟ้มในห้องปัจจุบันหรือห้องอื่นๆที่ต้องการ
chmod : : : เปลี่ยนสถานะของแฟ้มเช่น Read Write eXecute
man : : : แสดงรายละเอียดของคำสั่ง (Manual)
mkdir, rmdir, cd : : : คำสั่งเกี่ยวกับ Directory หรือ Folder เพื่อสร้าง หรือลบ
pico : : : editor ยอดฮิตใน Linux ที่ต้องมากับ Pine เป็น Text mode ที่ใช้ง่ายที่สุด
emacs : : : editor ยอดฮิตใน Linux ใช้ยากกว่า pico นิดหน่อย
vi : : : editor ยอดฮิตใน Linux ที่ใช้ยากที่สุด
id, finger, who, w : : : โปรแกรมตรวจสอบ username ของตนเอง
cat : : : แสดงข้อมูลในแฟ้มเหมือนคำสั่ง type ในระบบ DOS
ifconfig : : : ดู IP หรือเพิ่ม IP เข้าไปใน linux server
netstat : : : แสดงสถานะของเครือข่าย
service : : : แสดงสถานะโปรแกรมที่เปิดให้บริการ
xinetd : : : แสดงบริการที่เปิดใต้โปรแกรม xinetd
whereis : : : ค้นหาแฟ้มที่ต้องการว่าอยู่ที่ห้องใด
cp, rm, mv : : : จัดการแฟ้มเช่น คัดลอก ลบ และย้าย
ping : : : ตรวจสอบ ip และการเชื่อมต่อ internet
env : : : แสดงค่า environment ปัจจุบัน
lynx : : : Text browser ที่ใช้งานง่าย ใช้ดู source หรือ download ได้
nslookup : : : แสดงเลข IP จากชื่อ host หรือ domain name
tail : : : แสดงส่วนท้ายของแฟ้มที่มีขนาดใหญ่ ต้องข้ามกับ cat ที่ดูตั้งแต่เริ่มแฟ้ม
telnet : : : ใช้ติดต่อเข้า server ต่าง ๆ ตาม port ที่ต้องการ .


2. คำสั่งสำหรับผู้ใช้ระดับกลาง (Intermediate user command)

df : : : แสดง partition ของ linux พร้อมขนาดที่ใช้ไป
du : : : แสดงพื้นที่ใช้งานในแต่ละ Directory
ps : : : แสดง process ที่กำลังทำงานอยู่ทั้งของเครื่อง และตนเอง
kill : : : ยกเลิก process ที่ทำงานอยู่
find : : : ค้นหาแฟ้มที่ต้องการภายในทุก ๆ directory ได้
gzip : : : คลายการบีบอัด หรือแตกแฟ้มประเภท .gz
tar : : : คลายการบีบอัด หรือแตกแฟ้มประเภท .tar
last : : : แสดงรายชื่อผู้ใช้งานระบบปัจจุบันไปถึงอดีต
grep : : : เลือกข้อความที่ต้องการภายในแต่ละบรรทัด
date, hwclock : : : ใช้กำหนด หรือแสดงเวลาปัจจุบัน
top : : : แสดง process ที่ทำงานในปัจจุบัน พร้อม refresh ตลอดเวลา
ntsysv และ setup : : : กำหนดบริการที่ต้องการเปิด หรือปิด เช่น httpd หรือ vsftp
route : : : ใช้กำหนด แสดง ตารางเส้นทาง
shutdown, reboot : : : ใช้ปิดเครื่อง หรือ ปิดและเปิดเครื่องใหม่อย่างถูกวิธี
runlevel : : : คู่กับแฟ้ม /etc/inittab
fsck : : : ซ่อมแซมระบบแฟ้มใน linux
chown, chgrp : : : เปลี่ยนเจ้าของ หรือเปลี่ยนกลุ่ม
chkconfig : : : กำหนด หรือแสดง บริการที่สั่งประมวลผลใน level ต่าง ๆ ขณะเปิดเครื่อง
mount, umount : : : สั่งเชื่อมต่ออุปกรณ์ หรือ partition เช่น Diskette
mkbootdisk : : : สร้างแผ่น boot disk เพื่อใช้ boot ระบบ linux ขึ้นมาภายหลัง
traceroute : : : แสดงเลข ip ของเครื่องที่ถูกเชื่อมต่อ ไปยังปลายทางที่ต้องการ
rpm : : : ใช้ตรวจสอบ เพิ่ม หรือลบ package ของระบบ linux เกือบทั้งหมด
su : : : ขอเปลี่ยนตนเองเป็น Super user เพื่อใช้สิทธิ์สูงสุดในการบริหารระบบ
useradd : : : เพิ่มผู้ใช้รายใหม่เข้าไปในระบบ
userdel : : : ลบผู้ใช้รายเดิม ออกจากระบบ
usermod : : : แก้ไขข้อมูลของผู้ใช้ได้
crontab : : : ตั้งเวลาสั่งงานคอมพิวเตอร์
lspci : : : ตรวจสอบอุปกรณ์ที่เชื่อมต่อภายในเครื่อง
nmap : : : ตรวจสอบเครือข่ายแบบกวาดทั้งในเครื่อง และ class C

Sunday, March 2, 2008

ทบทวนความรู้

ความแตกต่างระหว่าง # และ $
Msgtnok # แสดงว่าเราคือ root (root คือ ผู้บริหารระบบที่มีสิทธิ์สูงสุด
Msgtnok $ แสดงว่าเราเป็นแค่ user มีสิทธิ์เฉพาะไดเรกทรอรีของตนเองเท่านั้น
คำสั่งพื้นฐานในการใช้งาน
ls แสดงรายชื่อไฟล์ทั้งหมดในไดเรกทรอรี ปัจจุปันให้เราดู
pwd คำสั่งตรวจสอบไดเรกทรอรีปัจจุบัน
cd คำสั่งเปลี่ยนไดเรกทรอรี
mkdir คำสั่งสร้างไดเรกทรอรี
rmdir คำสั่งลบ
cp คำสั่งคัดลอก
rm คำสั่งลบไฟล์
mv ย้ายหรือปลี่ยนชื่อไฟล์
passwd เปลี่ยนรหัสผ่าน
nano การใช้งานโปรแกรมแก้ไข config
su เปลี่ยนโหมดจาก user เป็น root
shutdown การปิดเครื่อง -h now หยุดการทำงาน halt ของเครื่องทันที
-p now ใช้หยุดการทำงาน halt และปิดเครื่องทันที
-r now reboot เครื่องใหม่