คำสั่งเบื้องต้นเกี่ยวกับ Linux
1. คำสั่งสำหรับผู้ใช้พื้นฐาน (Basic user command)
ls : : :แสดงรายชื่อแฟ้มในห้องปัจจุบันหรือห้องอื่นๆที่ต้องการ
chmod : : : เปลี่ยนสถานะของแฟ้มเช่น Read Write eXecute
man : : : แสดงรายละเอียดของคำสั่ง (Manual)
mkdir, rmdir, cd : : : คำสั่งเกี่ยวกับ Directory หรือ Folder เพื่อสร้าง หรือลบ
pico : : : editor ยอดฮิตใน Linux ที่ต้องมากับ Pine เป็น Text mode ที่ใช้ง่ายที่สุด
emacs : : : editor ยอดฮิตใน Linux ใช้ยากกว่า pico นิดหน่อย
vi : : : editor ยอดฮิตใน Linux ที่ใช้ยากที่สุด
id, finger, who, w : : : โปรแกรมตรวจสอบ username ของตนเอง
cat : : : แสดงข้อมูลในแฟ้มเหมือนคำสั่ง type ในระบบ DOS
ifconfig : : : ดู IP หรือเพิ่ม IP เข้าไปใน linux server
netstat : : : แสดงสถานะของเครือข่าย
service : : : แสดงสถานะโปรแกรมที่เปิดให้บริการ
xinetd : : : แสดงบริการที่เปิดใต้โปรแกรม xinetd
whereis : : : ค้นหาแฟ้มที่ต้องการว่าอยู่ที่ห้องใด
cp, rm, mv : : : จัดการแฟ้มเช่น คัดลอก ลบ และย้าย
ping : : : ตรวจสอบ ip และการเชื่อมต่อ internet
env : : : แสดงค่า environment ปัจจุบัน
lynx : : : Text browser ที่ใช้งานง่าย ใช้ดู source หรือ download ได้
nslookup : : : แสดงเลข IP จากชื่อ host หรือ domain name
tail : : : แสดงส่วนท้ายของแฟ้มที่มีขนาดใหญ่ ต้องข้ามกับ cat ที่ดูตั้งแต่เริ่มแฟ้ม
telnet : : : ใช้ติดต่อเข้า server ต่าง ๆ ตาม port ที่ต้องการ .
2. คำสั่งสำหรับผู้ใช้ระดับกลาง (Intermediate user command)
df : : : แสดง partition ของ linux พร้อมขนาดที่ใช้ไป
du : : : แสดงพื้นที่ใช้งานในแต่ละ Directory
ps : : : แสดง process ที่กำลังทำงานอยู่ทั้งของเครื่อง และตนเอง
kill : : : ยกเลิก process ที่ทำงานอยู่
find : : : ค้นหาแฟ้มที่ต้องการภายในทุก ๆ directory ได้
gzip : : : คลายการบีบอัด หรือแตกแฟ้มประเภท .gz
tar : : : คลายการบีบอัด หรือแตกแฟ้มประเภท .tar
last : : : แสดงรายชื่อผู้ใช้งานระบบปัจจุบันไปถึงอดีต
grep : : : เลือกข้อความที่ต้องการภายในแต่ละบรรทัด
date, hwclock : : : ใช้กำหนด หรือแสดงเวลาปัจจุบัน
top : : : แสดง process ที่ทำงานในปัจจุบัน พร้อม refresh ตลอดเวลา
ntsysv และ setup : : : กำหนดบริการที่ต้องการเปิด หรือปิด เช่น httpd หรือ vsftp
route : : : ใช้กำหนด แสดง ตารางเส้นทาง
shutdown, reboot : : : ใช้ปิดเครื่อง หรือ ปิดและเปิดเครื่องใหม่อย่างถูกวิธี
runlevel : : : คู่กับแฟ้ม /etc/inittab
fsck : : : ซ่อมแซมระบบแฟ้มใน linux
chown, chgrp : : : เปลี่ยนเจ้าของ หรือเปลี่ยนกลุ่ม
chkconfig : : : กำหนด หรือแสดง บริการที่สั่งประมวลผลใน level ต่าง ๆ ขณะเปิดเครื่อง
mount, umount : : : สั่งเชื่อมต่ออุปกรณ์ หรือ partition เช่น Diskette
mkbootdisk : : : สร้างแผ่น boot disk เพื่อใช้ boot ระบบ linux ขึ้นมาภายหลัง
traceroute : : : แสดงเลข ip ของเครื่องที่ถูกเชื่อมต่อ ไปยังปลายทางที่ต้องการ
rpm : : : ใช้ตรวจสอบ เพิ่ม หรือลบ package ของระบบ linux เกือบทั้งหมด
su : : : ขอเปลี่ยนตนเองเป็น Super user เพื่อใช้สิทธิ์สูงสุดในการบริหารระบบ
useradd : : : เพิ่มผู้ใช้รายใหม่เข้าไปในระบบ
userdel : : : ลบผู้ใช้รายเดิม ออกจากระบบ
usermod : : : แก้ไขข้อมูลของผู้ใช้ได้
crontab : : : ตั้งเวลาสั่งงานคอมพิวเตอร์
lspci : : : ตรวจสอบอุปกรณ์ที่เชื่อมต่อภายในเครื่อง
nmap : : : ตรวจสอบเครือข่ายแบบกวาดทั้งในเครื่อง และ class C
No comments:
Post a Comment